วันเสาร์, พฤศจิกายน 23, 2024
หน้าแรก แท็ก AstraZeneca

แท็ก: AstraZeneca

จุดเด่นและผลข้างเคียงของวัคซีนโควิด 19 แต่ละชนิด

จุดเด่นและผลข้างเคียงของวัคซีนโควิด 19 แต่ละชนิด         วัคซีนโควิด 19 มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการควบคุมการระบาดของโรคโควิด 19 อย่างไรก็ตาม วัคซีนทุกชนิดทำให้เกิดผลข้างเคียงขึ้นได้เสมอ ทั้งปฏิกิริยาจากการฉีดวัคซีนที่พบได้ทั่วไป และผลข้างเคียงจำเพาะที่เกิดขึ้นจากวัคซีนแต่ละชนิด          Sinovac มีจุดเด่นที่พบผลข้างเคียงทั่วไปจากการฉีดวัคซีนค่อนข้างน้อย แต่พบผู้ป่วยจำนวนหนึ่งที่มีอาการทางระบบประสาทซึ่งเข้าใจว่าเกิดจากความวิตกกังวลหรือเกิดจากภาวะเส้นเลือดในสมองหดตัว ซึ่งทุกรายอาการหายภายในหนึ่งสัปดาห์ แต่ข้อจำกัดคือภูมิคุ้มกันขึ้นช้ากว่าของ AstraZeneca และ Pfizer และยังขาดข้อมูลที่ชัดเจนว่า Sinovac ต้านทานเชื้อกลายพันธุ์ได้ดีเพียงไร         AStraZeneca ฉีดเข็มเดียวหลังจากนั้น...

การเกิดลิ่มเลือดหลังการฉีดวัคซีนโควิดในกลุ่ม Viral vector (ตอนที่ 2)

การเกิดลิ่มเลือดหลังการฉีดวัคซีนโควิดในกลุ่ม Viral vector (ตอนที่ 2)  ในภาวะปกติ Pulmonary embolism (PE) เป็นโรคที่มีอาการคล้ายกับภาวะเครียดและคล้ายกับโรคทางหัวใจและปอดอีกหลายโรค การวินิจฉัยอย่างถูกต้องจึงทำได้ไม่ง่ายนัก และทำให้ PE เป็นหนึ่งในโรคที่มี Diagnostic error บ่อย   และเมื่อมาเกิดในช่วงหลังการฉีดวัคซีน ซึ่งมีแนวโน้มว่าผู้วินิจฉัยจะมีความลำเอียงว่าอาการผู้ป่วยเกิดจาก Immunization Stress-Related Responses (ISRR) ความผิดพลาดคลาดเคลื่อนจึงเกิดมากขึ้น ดังนั้น...

การฉีดวัคซีนโควิดในกลุ่ม Viral vector (ตอนที่ 1)

การฉีดวัคซีนโควิดในกลุ่ม Viral vector (ตอนที่ 1)        ในเดือนมิถุนายน 2564 ประเทศไทยจะเริ่มมีการฉีดวัคซีน AStraZeneca เป็นล็อตใหญ่ ดังนั้น จึงน่าจะมีโอกาสมากขึ้นที่ประเทศไทยจะเผชิญเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (AE) จากการฉีดวัคซีนกลุ่ม viral vector เหมือนที่เคยเกิดในยุโรปและอเมริกามาแล้ว     จากการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ AE ในวัคซีนกลุ่มนี้  พบว่า AE...

วัคซีนป้องกัน COVID-19 ที่ใช้ในประเทศไทย แต่ละชนิดมีความแตกต่างกันอย่างไร

ชนิดของวัคซีนที่ใช้ในการป้องกัน COVID-19 ที่ใช้ในประเทศไทย แต่ละชนิดมีความแตกต่างกันอย่างไร สรุปได้ดังนี้      หลักการสำคัญของการสร้างวัคซีนป้องกัน การติดเชื้อ COVID-19  คือ การฉีดสารชีวเคมีเข้าไปในร่างกายเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ COVID-19 ไว้ล่วงหน้า ต่อมาภายหลัง เมื่อมาเจอเชื้อตัวจริง ร่างกายจะได้จัดการเชื้อได้ก่อนที่จะมีอาการ หรือถึงมีอาการ การเจ็บป่วยก็จะไม่รุนแรงมาก      สารชีวเคมีที่กระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันของ COVID-19 ได้ดี คือส่วนโปรตีนที่ยื่นออกมา  จากผิวของไวรัสซึ่งใช้ในการจับกับเซลล์มนุษย์ เพื่อให้ไวรัสทะลุผ่านเข้าไปทำให้เซลล์ติดเชื้อ โปรตีนส่วนนี้เรียกว่า...
- Advertisement -

MOST POPULAR

HOT NEWS