แท็ก: HA 20th
ควันหลง HA 20th: ผลสำรวจ 10 ปัจจัย ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน
การสำรวจจากผู้เข้าร่วมประชุม HA National Forum ครั้งที่ 20: “Change and Collaboration for Sustainability” มีผู้ตอบจำนวน 226 คน ส่วนใหญ่มาจากรพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประมาณ 65%
คำถามเป็นการประเมินตนเอง ใน 10 ประเด็น ที่เป็นปัจจัยส่งเสริมให้การพัฒนาคุณภาพ/การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาล/องค์กร เป็นไปอย่างยั่งยืน...
บทส่งท้ายจากใจกองบรรณาธิการ
Editor team
พลังการเปลี่ยนแปลงและพลังแห่งความร่วมแรงร่วมใจเป็นปัจจัยสำคัญของกระบวนการพัฒนาให้งานบรรลุเป้าหมายเฉกเช่นในการประชุมวิชาการประจำปี (HA National Forum) ครั้งที่ 20 “Change & Collaboration for Sustainability) วันที่ 12-15 มีนาคม 2562 ณศูนย์ประชุม IMPACT FORUM เมืองทองธานีครั้งนี้บรรลุผลสำเร็จไปได้ด้วยดีเกิดจากการเรียนรู้จากพลังความร่วมมือร่วมแรงร่วมใจของทีมงาน ร่วมกับผู้เข้าร่วมประชุม ในการร่วมกันก้าวข้ามอุปสรรคต่างๆ ในแต่ละช่วงวัน ได้เป็นอย่างดี...
Practical Point for Medication Safety
บทความนี้ถอดมาจาก 2 session บรรยายโดย ภญ.วิชชุนี พิตรากูล, ภญ.ผุสดี บัวทอง, ภก.พิชญ์สิทธิ์ อุดมนุชัยทรัพย์, ภก.ภาสกร รัตนเดชสกุล, ภญ.จันทร์จารึก รัตนเดชสกุล, ภญ.จารุณี วงศ์วัฒนาเสถียร
Practical Point for medication safety Episode I&II
ในการขับเคลื่อนระบบยาให้บรรลุเป้าหมาย “ความปลอดภัย” มีกระบวนการ/ระบบงานสำคัญที่เกี่ยวข้อง...
Life is Miracle
โดย ศิรินทิพย์ ขัติยะกาญจน์ (เบลล์), ณิชชารีย์ เป็นเอกชนะศักดิ์ (น้องธันย์), ประสาน อิงคนันท์ (บ.บุญมีฤทธิ์ มีเดีย จำกัด)
“คิดบวก ไม่ใช่โลกสวย Life is Miracle”
คุณค่าของชีวิตจะถูกตั้งคำถาม เมื่อถึงจุดหนึ่งที่เราอาจจะไม่ได้อยู่บนโลกนี้ต่อไป เรียนรู้ความหมายของชีวิตจากประสบการณ์ มุมมองด้านบวก สร้างแรงบันดาลใจในชีวิตที่ทำให้ก้าวข้ามจุดเปลี่ยนอันเปราะบางของการมีชีวิตอยู่
เมื่อปี 2554 ด.ญ.ณิชชารีย์ เป็นเอกชนะศักดิ์ หรือน้องธันย์...
เทคโนโลยีเปลี่ยนไว เราจะรับมืออย่างไร
โดย ดร.เจษฎา ศิวรักษ์ (กสทช.)
“ไทยเป็นประเทศหนึ่งที่ใช้เทคโนโลยีมากที่สุดอันดับต้น ๆ ในโลก แต่คำถามคือแล้วเราจะใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเหล่านี้ได้อย่างไร”
“เทคโนโลยี” โดยทั่วไปหมายถึง วิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้องค์ความรู้หรือกระบวนการ ในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น หากนึกถึงเทคโนโลยี คนส่วนใหญ่จะตั้งกำแพงขึ้น 3 ชั้น ได้แก่ 1) เทคโนโลยีเป็นเรื่องของคนรุ่นใหม่ 2) ต้องใช้เงินทุนสูงจึงจะเข้าถึงเทคโนโลยีได้ และ 3) การใช้เทคโนโลยีต้องมีความรู้ในระดับหนึ่ง...
2P Safety เรื่องดีดี ที่ยาก แต่ทำได้
โดยศ.ดร.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา
2P Safety อาจดูเหมือนเป็นเรื่องยากและซับซ้อนสำหรับโรงพยาบาล วันนี้ ศ.ดร.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา ได้ให้ข้อคิดและชวนให้ทำเรื่องยาก แต่เป็นเรื่องดีดี ที่อยากให้ทำ ผ่านการบรรยายในช่วงเวลาสั้น ๆ ดังนี้
“คำว่ายาก หมายถึง สามารถทำได้ แต่ต้องใช้ความพยายาม”
การทำสิ่งที่ยากให้ประสบความสำเร็จนั้น ขึ้นอยู่ที่การปรับมุมมองต่อปัญหาหรือโจทย์ที่มี การที่เรามองหาโอกาสที่เป็นไปได้ และลงมือทำ รวมทั้งเรียนรู้ที่จะเติบโตจากความผิดพลาด จะทำให้เราพัฒนาและประสบความสำเร็จตามเป้าหมายได้ ไม่มีอะไรที่เราทำไม่ได้ “If you...
Nursing Perspective with Change and Collaboration for Sustainability
โดย ดร.กฤษดา แสวงดี (ที่ปรึกษาระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข : ด้านแผนยุทธศาสตร์สาธารณสุข), นส.เรวดี ศิรินคร (ผู้เยี่ยมสำรวจ)
การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบกับวิชาชีพพยาบาล ได้แก่ สังคมสูงอายุ/โรคเรื้อรัง/ผู้สูงอายุรุ่นใหม่ ไม่ต้องการใช้ชีวิตในโรงพยาบาล/ขาดผู้ดูแล, โรงพยาบาลแออัด ค่าใช้จ่ายสูงจนรัฐอาจรับภาระไม่ไหว, IT/ Medical Technology ก้าวหน้ารวดเร็ว / Extend patients’ lives, พยาบาลขาดแคลน/ขาดระบบสนับสนุนที่เพียงพอ...
Engagement the Digital Workforce
Engagement the digital workforce
ความผูกพันในองค์กรในยุคดิจิตัล
เมื่อความแตกต่างระหว่างวัยในที่ทำงานเพิ่มมากขึ้น เกิดความแตกต่างของความคิดและค่านิยม ในขณะที่เราไม่สามารถอ่านใจของใครได้ แล้วอะไรคือความท้าทายของการทำให้คนผูกพันกับองค์กรในยุคดิจิตอล? ดร.บวรนันท์ ทองกัลยา นายกสมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย และอาจารย์นงลักษณ์ ไชยเสโน ได้พาพวกเราไปร่วมหาคำตอบเพื่อความเข้าใจในการทำงานร่วมกัน
ยุคของ digital workforce เป็นยุค employee centric คือ “การเอาใจคนทำงานเป็นหลัก” เนื่องจากเจ้านายไม่สามารถเลือกลูกน้องที่มีความรับผิดชอบ เชื่อฟัง สร้างสรรค์ และซื่อสัตย์...
ธนาคารเวลา กับ จิตอาสาการดูแลผู้มีอายุยืน
ธนาคารเวลา “วาระแห่งชาติ” เพื่อผู้สูงอายุ
“แก่อย่างเดียวดาย”
ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในอัตราเร่ง ในปี 2564 เราจะมีผู้สูงอายุ 20% และ 28% ในปี 2574 ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อสูงอายุ เช่น ภาวะสมองเสื่อม ความเสื่อมถอยทางร่างกาย ภาวะพึ่งพิงตนเองได้ลดลง มีความเปราะบางทางจิตใจ แนวโน้มผู้สูงอายุอยู่คนเดียวลำพังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่ออัตราการพลัดตกหกล้มเพิ่มขึ้น โดย 1 ใน...